ข่าว แนวโน้มและนวัตกรรม "โปรตีนทางเลือก" ในตลาดอาเซียน
อรรถรสในการกินอาจไม่เหมือนแต่ถ้าไม่ซีเรียสก็ไม่แย่
เพราะแรงขับเคลื่อนหลักๆ ที่ทำให้ตลาดโปรตีนทางเลือกเติบโตขึ้นมากในหมู่ผู้บริโภคทั่วโลก ก็มาจากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ตื่นตัวกับกระแสรักสุขภาพ โดยเฉพาะคนวัยหนุ่มสาว วัยทำงาน วัยผู้ใหญ่ ที่กังวลต่ออันตรายจากการบริโภคเนื้อสัตว์ เช่น การปนเปื้อน รวมถึงโรคในสัตว์ การรักษาหุ่น และปัญหาการบริโภคเนื้อสัตว์ จึงต้องเลือกอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การตระหนักถึงการบริโภคที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การทารุณกรรมสัตว์ รวมถึงความกังวลต่อปัญหาความมั่นคงทางอาหารเนื่องจากจำนวนประชากรโลกสูงขึ้น
“งาดำ” ประโยชน์และโทษ ข้อควรระวังน่ารู้ก่อนกิน
ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน
นอกจากนี้ ยังมองว่าการทำตลาดจะเป็นส่วนสร้างโอกาสทางการค้ามากขึ้น รุกช่องทางบุกตลาดผ่านออนไลน์ เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการทดลองสินค้าใหม่ๆ หรือการใช้อินฟลูเอนเซอร์ มาช่วยรีวิวสินค้า ซึ่งจะทำให้สินค้าไทยมีโอกาสเข้าถึงตลาดสหรัฐฯ ได้เพิ่มขึ้น
ทุกคนรู้ดีว่าการจะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น ส่วนหนึ่งก็มาจากพฤติกรรมสุขภาพของตัวเราเองนี่แหละ โดยเฉพาะพฤติกรรมการกินอาหาร เพราะจริงๆ เราก็รู้ว่าอาหารอะไรที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งเราก็เป็นคนเลือกเองว่าจะกินหรือไม่กิน เช่น ถ้าเมนูไม่ถูกใจ รสชาติไม่ถูกปาก เราก็ไม่กินทั้งๆ ที่รู้ว่ามีประโยชน์ ในขณะเดียวกัน หากเป็นเมนูโปรด ต่อให้มันเป็นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ถึงจะถูกเรียกว่า “อาหารขยะ” เราก็ไม่สนใจ ก็จะกินอยู่ดี
ขณะที่ สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) รายงานว่าสถานการณ์โปรตีนทางเลือก อาหารของคนรักสุขภาพ ระบุว่าเป็นโอกาสสำหรับไทยที่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ มาผลิต แปรรูป และพัฒนานวัตกรรมโปรตีนทางเลือกเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด โดยพืชที่ทำได้ เช่น ถั่ว เห็ด โปรตีนทางเลือก สาหร่าย ขนุนอ่อน ไข่ผำ และแมลง เช่น จิ้งหรีด ตั๊กแตน หนอนไหม เป็นต้น
หอการค้าไทยหนุนรัฐเร่งเจรจาหลังดีลสหรัฐ–จีน ส่งสัญญาณบวกต่อเศรษฐกิจโลก
นวัตกรรมอาหารใหม่ “โปรตีนทางเลือก” แนวโน้มตลาดเติบโตอย่างต่อเนื่อง นับเป็นโอกาสทางธุรกิจที่น่าสนใจไม่น้อย
ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและจริยธรรม
• ณ บ้านพระอาทิตย์ โดย ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
ตลาดโปรตีนทางเลือก เป็นที่นิยมมากแค่ไหน
ขณะที่บริษัทผู้ผลิตอาหารรายใหญ่ของไทยได้เร่งศึกษาและวิจัยพัฒนา และทยอยเปิดตัวสินค้าประเภทนี้ออกมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคงต้องจับตาดูพัฒนาการของธุรกิจใหม่นี้ที่กำลังจะปฏิวัติอุตสาหกรรมอาหารโลก และสร้างโอกาสใหม่ให้กับธุรกิจการเกษตรและอาหารของไทยที่พร้อมปรับตัว เพื่อก้าวไปให้ทันกับโลกแห่งอนาคตที่กำลังจะมาถึงในไม่ช้านี้
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นทำให้เริ่มมีการพัฒนาเนื้อสัตว์เทียมอีกชนิดหนึ่งที่เหมือนกับเนื้อสัตว์จริงมากขึ้น คือเนื้อที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเซลล์ของสัตว์จริง ๆ หรือที่เรียกกันว่า lab-grown หรือ cultured meat ด้วยกระบวนการผลิตจากการเพาะเซลล์ให้โตขึ้นมาภายในห้องปฏิบัติการ กลายมาเป็นเนื้อที่ประกอบไปด้วยไขมัน กล้ามเนื้อ และเนื้อแดงของสัตว์ที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่สามารถนำมาปรุงอาหารรับประทานได้ ผลลัพธ์คือเนื้อสัตว์ที่เหมือนเนื้อสัตว์จริงแต่ไม่ได้มาจากการเลี้ยงและฆ่าสัตว์ ในปัจจุบันต้นทุนการผลิต cultured meat ยังสูงมาก แต่ก็มีแนวโน้มลดลงมาอย่างรวดเร็ว และในอนาคตอีกไม่ไกลต้นทุนการผลิตน่าจะลดลงมาอยู่ในระดับที่จะทำให้ผู้บริโภคจำนวนมากเข้าถึงได้